สิ่งมีชีวิตแตกต่างจากสิ่งไม่มีชีวิตคือ
มีความสามารถในการให้กำเนิดสิ่งมีชีวิตใหม่จากสิ่งมีชีวิตเดิม
ซึ่งเป็นสมบัติสำคัญของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดที่ทำให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงพันธ์ให้คงไว้ได้
การสืบพันธุ์ขิงสิ่งมีชีวิตแตกต่างกันออกไป สามารถศึกษาได้ดังต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2558
อาหารที่คนรับประทานมีทั้งข้าว เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้
ซึ่งประกอบด้วยสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ เซลล์ต่างๆ
ของร่างกายต้องการสารอาหารและพลังงานจากสารอาหารเหล่านี้ไปใช้ในกระบวนการต่างๆ
ของเซลล์เพื่อให้ดำรงชีวิตอยู่ได้
แต่สารอาหารที่จะเข้าสู่เซลล์ได้ต้องมีโมเลกุลขนาดเล็ก ร่างกายมีกระบวนการอย่างไร
จึงจะทำให้โมเลกุลของสารอาหารขนาดใหญ่มีขนาดเล็กลง
และกระบวนการนี้เกิดขึ้นที่ส่วนใดของร่างกาย เมื่อโมเลกุลของสารอาหารมีขนาดเล็กลงแล้วจะเข้าสู่เซลล์ได้อย่างไร
และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ มีกระบวนการเช่นเดียวกันหรือไม่
นักเรียนจะสามารถตอบคำถามเหล่านี้ได้โดยศึกษาในหัวข้อต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
(Cell
of organisms)
เซลล์
(Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
มีรูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของสิ่งมีชีวิตและหน้าที่ของเซลล์เหล่านั้นเซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุดคือ
ไมโครพลาสมา (Mycoplasma) หรือ PPLO (Pleuropneumonia
- like organism) มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 mเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
คือ เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 2
เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตในโลกมีรูปร่างและโครงสร้างแตกต่างกันมากมาย
เช่น พืช สัตว์ ทำให้เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตเป็นชนิดต่างๆ ได้
แต่ว่าถึงแม้จะแตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นก็ล้วนประกอบขึ้นด้วยหน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดเรียกว่า
เซลล์ ภายในเซลล์ทุกชนิดมีโครงสร้าง ที่ประกอบด้วยโมเลกุลของสารเคมีหลายชนิด
โมเลกุลของสารเหล่านี้เกิดจากโครสร้างพื้นฐานที่เล็กที่สุด
คืออะตอมธาตุที่พบมากได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน ออกซิเจน ซึ่งมีการรวมกันเป็นโมเลกุล
โมเลกุลบางชนิดมีขนาดใหญ่มาก เช่น โปรตีน ลิพิด คาร์โบไฮเดรตและกรดนิวคลีอิก
เป็นต้น ประกอบกันเป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่ต่างกัน อ่านเพิ่มเติม
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ชีววิทยา คือ
การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต รากศัพท์ของคำนี้มาจากภาษากรีก คือ ไบออส (bios)
ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิต และโลกอส (logos) ที่หมายถึง
ความคิดและเหตุผลการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตสามารถศึกษาได้หลายระดับ
ตั้งแต่ระดับใหญ่ เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
การศึกษาความสัมพันธ์์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ การศึกษาลักษณะรูปร่าง
การดำรงชีวิตและการจัดจำแนกสิ่งมีชีวิต สำหรับการศึกษาในระดับย่อยลงมา เช่น
การศึกษาองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ได้แก่ อวัยวะ เนื้อเยื่อ และเซลล์ ในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทำงาน อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)